วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชา การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ (3503201) ตอนเรียน A1

การบ้าน วันพุธที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2554

Router
Features of the router
Finding the best path for data transmission.  And as an intermediary in forwarding information to the network. Each network will take the form of different packet based protocol running on top-level. (From layer 3 or above), such as IP, IPX, or AppleTalk

Advantage of the router
1. To use a router connecting the network together. Volume data of each sub-network will separate the woman. That is the amount of the flow of data in a LAN network will not interfere with the flow of other data network, a LAN.
2. Have the flexibility to run high. Because it can work with the topology of all kindsฟัง
อ่านออกเสียง


3. To determine the importance of information as to determine if the information submitted in the form of protocols that have higher priority. Can Eedciy sent before.
4. To block the network. Or a separate network from the networks that do not want to be contacted. This is a secure way.
5. To choose the path of the transmitted data. Router can be used to help in choosing the best route.

คุณสมบัติของเราเตอร์
การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น โดยในแต่ละเครือข่ายจะมีรูปแบบของ Packet ที่แตกต่างกันตามโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบน (ตั้งแต่
เลเยอร์ที่
3 ขึ้นไป) เช่น IP, IPX หรือ AppleTalk

ประโยชน์ของเราเตอร์
1. ในการใช้เราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปริมาณการส่งข้อมูลของแต่ละเครือข่ายย่อยจะแยกจากกันโดยเด็ดขาด นั่นคือปริมาณการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่าย LAN หนึ่งจะไม่รบกวนการไหลเวียนข้อมูลของอีกเครือข่าย LAN หนึ่ง
2. มีความคล่องตัวในการทำงานสูง เนื่องจากสามารถทำงานร่วมกับโทโพโลยีได้ทุกชนิด
3. สามารถกำหนดความสำคัญในการส่งข้อมูลได้ เช่น สามารถกำหนดได้ว่าหากข้อมูลที่ส่งไปอยู่ในรูปแบบของโปรโตคอลที่มีลำดับความสำคัญสูง ก็สามารถลัดคิวส่งออกไปได้ก่อน
4. การปิดกั้นเครือข่าย หรือแยกเครือข่ายออกจากเครือข่ายที่ไม่ต้องการจะติดต่อด้วย ซึ่งเป็นการรักษาความปลอดภัยวิธีหนึ่ง
5. การเลือกเส้นทางในการที่จะส่งข้อมูล สามารถใช้เราเตอร์ช่วยในการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด






วิชา การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ (3503201) ตอนเรียน A1

การบ้าน วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554


DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol)
คือ โปรโตคอลที่ใช้ในการกำหนด IP Address อัตโนมัติแก่เครื่องลูกข่ายบนระบบ ที่ติดตั้ง TCP/IP สำหรับ DHCP server มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำ เป็นการลดความซ้ำซ้อน เมื่อเครื่องลูกเริ่ม boot ก็จะขอ IP address, Subnet mark, หมายเลข DNS และ Default gateway
         
ขั้นตอนการเชื่อมต่อของเครื่องลูกกับ DHCP server    
1. เครื่องลูกค้นหาเครื่อง DHCP server ในเครือข่าย โดยส่ง DHCP discover เพื่อร้องขอ IP address
            2. DHCP server จะค้นหา IP  ที่ว่างอยู่ในฐานข้อมูล  แล้วส่ง DHCP  offer  กลังไปให้เครื่องลูก
            3. เมื่อเครื่องลูกได้รับ IP  ก็จะส่งสัญญาณตอบกลับ DHCP  Request ให้เครื่องแม่ทราบ
            4. DHCP server ส่งสัญญาณ DHCP Ack กลับไปให้เครื่องลูก เพื่อแจ้งว่าเริ่มใช้งานได้

วันอังคารที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชา การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ การบ้านบทที่ 5 ประจำวันที่ 5 ม.ค. 2554ตอนเรียนA1


  1. จงยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
ตอบ     รีพีตเตอร์ (Repeater) ในระบบ LAN โดยทั่วไปนั้นยิ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องอยู่ไกลกันมากเท่าไร สัญญาณที่ส่งถึงกันก็จะเริ่มเพี้ยน และจางลงจนหายไปในที่สุด ซึ่งเมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์มีความยาวเกินกว่าที่มาตรฐานกำหนดก็จะต้องมีการเพิ่มอุปกรณ์พิเศษที่เรียกว่ารีพีตเตอร์ขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่ทวนสัญญาณคือช่วยขยายสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งบนสาย LAN ให้แรงขึ้นและจัดรูปสัญญาณที่เพี้ยนไปให้กลับเหมือนเดิม จากนั้นจึงค่อยส่งต่อไปแต่ข้อจำกัดของรีพีตเตอร์ คือ มันจะทำงานในระดับต่ำ โดยไม่สนใจสัญญาณที่ส่งว่าเป็นข้อมูลอะไร จากไหนถึงไหน รู้แต่ว่าถ้ามีสัญญาณเข้ามาทางฟากหนึ่งก็จะขยายแล้วส่งต่อออกไปยังอีกฝากหนึ่งให้เสมอ ไม่สามารถกลั่นกรองสัญญาณที่ไม่จำเป็นออกไปได้ ดังนั้นรีพีตเตอร์จึงไม่ได้มีส่วนช่วยจัดการจราจรหรือลดปริมาณข้อมูลที่ส่งออกมาบนเครือข่าย LAN



ฮับที่ใช้ในระบบ LAN ตามมาตรฐานอีเทอร์เน็ตแบบ 10Base-T และ 100Base-T ก็จัดเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในลักษณะเดียวกับรีพีตเตอร์ด้วย
1.      จงเปรียบเทียบการทำงานของเกตเวย์ บริดจ์และสวิตซ์
ตอบ

อุปกรณ์เครือข่าย
การทำงาน
Bridge
       เป็นอุปกรณ์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ติดต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่น หรือ LAN 2เครือข่ายที่มีโปรโตคอลเหมือนกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน
v บริดจ์ทำงานคล้ายกับเครื่องตรวจตำแหน่ง (Address)ของข้อมูล บริดจ์จะรับข้อมูลมาทั้งแพ็กเกตจาก LANต้นทาง แล้วส่งไปยังปลายทางโดยไม่ทำการแก้ไขใด ๆ
v บริดจ์อาจเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์เฉพาะ หรือซอฟต์แวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำหนดให้เป็นบริดจ์ก็ได้
v บริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้
Switch
v นิยมเรียกว่า อีเธอร์เนตสวิตซ์ (Ethernet Switch) จะเป็นบริดจ์แบบหลายช่องทาง (Multiport Bridge) ที่นิยมใช้ในระบบเครือข่ายแลนแบบEthernet เพื่อใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน สวิตซ์จะช่วยลดการจราจรระหว่างเครือข่ายที่ไม่จำเป็น
v เนื่องจากการเชื่อมต่อแต่ละช่องทาง กระทำอยู่ภายในตัวสวิตซ์เอง ทำให้สามารถทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละเครือข่าย (Switching) ได้อย่างรวดเร็วกว่าการใช้บริดจ์จำนวนหลายๆ ตัวเชื่อมต่อกัน
v สวิตซ์สามารถใช้เชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเข้ากับตัวสวิตซ์ ซึ่งจะทำให้เครื่องๆ นั้น สามารถติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์ด้วยความเร็วเต็มความสามารถของช่องทางการสื่อสารข้อมูล
Gateway
v เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่างหนึ่ง ทำหน้าที่ ช่วยทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่าที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน คือมีลักษณะการเชื่อมต่อของเครือข่ายต่างกัน และมีโปรโตคอลสำหรับการส่ง-รับข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อกันได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน
v สำหรับเครือข่ายขนาดใหญ่ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นGateway อาจจะรวมเอาฟังก์ชั่นการทำงานที่เรียกว่าFirewall ไว้ในตัวด้วย เพื่อทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้คอมพิวเตอร์ที่อยู่นอกเครือข่ายเข้ามาเชื่อต่อลักลอบนำข้อมูลภายในออกไปได้

2.      โทโพโลยีมีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบายว่าแต่ละประเภทเหมาะกับการใช้งานแบบใด
ตอบ     โทโพโลยี (Topology) มี 3 ประเภท ดังนี้



1. โทโปโลยีแบบบัส (BUS)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น
สัญญาณข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัส ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2ด้านของบัส แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่า ตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สัญญาณข้อมูลนั้นผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สัญญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้ เหมาะกับการรับส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องและข้อมูลมีจำนวนไม่มากนัก




2. โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING)
       เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรือแต่ละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข้อมูลที่จำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารเข้าในส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่องถัดไป
-          เหมาะกับงานที่มีการรับส่งข้อมูลมาก ๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา



3. โทโปโลยีแบบดาว (STAR)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาณที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUBหรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป
-          เหมาะกับการรับส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องและข้อมูลมีจำนวนไม่มากนัก
4. รีพีตเตอร์หรือฮับทำงานอยู่บน layer ใดของ OSI Model
ตอบ     รีพีตเตอร์หรือฮับเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่ได้รับมาส่งต่อให้กับอุปกรณ์อื่นที่ต่อเข้ากับมัน จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีการทำงานอยู่ใน Layer ที่ 1ของ OSI Model

วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชา ฐานข้อมูลเบื้องต้น การบ้านบทที่ 6 ประจำวันที่ 5 ม.ค 2554

1. Functional Dependency คืออะไร แบ่งเป็นกี่ประเภท
   ตอบ คือการพิจารณาโครงสร้างของแต่ละ Relation ว่ามีโครงสร้างอยู่ใน Normal Formระดับใด จะพิจารณาจาก Functional Dependency ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างAttribute ต่าง ๆ ภายใน Relation กับ Attribute หรือกลุ่ม Attribute ที่ทำหน้าที่เป็นKey ของ Relation นั้นซึ่งความสัมพันธ์นี้ จะถูกนิยามด้านรูปแบบทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า “Functional Dependency”
Functional Dependency สมารถแบ่งออกเป็น ประเภท ดังนี้
1.      Functional Dependency ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง Determinantและ Dependency อย่างละ คำ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขบัตรประชาชนและชื่อเจ้าของบัตร
2.      Functional Dependency ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง Determinantค่ากับ Dependency หลายค่า เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขบัตรประชาชนและข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนบัตรประชาชน
3.      Functional Dependency ที่มีความสัมพันธ์ ทาง ซึ่งเป็น Functional Dependencyที่ทั้ง Determinant และ Dependency ต่างสามารถทำหน้าที่ของอีกฝ่ายหนึ่งได้ เช่น ความสัมพันธ์   ระหว่างชื่อผู้จัดการโครงการ (Attribute“MANAGER”)กับชื่อโครงการ(Attribute“PROJECT_NO”)ซึ่งถ้าทราบชื่อของโครงการจะสามารถทราบได้ถึงชื่อของโครงการที่ผู้จัดการนั้นเป็นเจ้าของได้ และเมื่อทราบชื่อโครงการก็จะสามารถทราบถึงชื่อของผู้จัดการโครงการนั้นเช่นเดียวกัน
4.      Functional Dependency ที่ต้องใช้ Determinant มากกว่า 1 ค่า เพื่ออ้างถึง Dependency เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนสินค้าที่ผลิตได้ของสินค้าแต่ละชนิดภายใต้สายการผลิตต่าง ๆ
2. จงอธิบายความหมายของ Repeating Group พร้อมยกตัวอย่าง
   ตอบ Repeating Group หมายถึง รีเลชั่น ของตารางเกิดมีกลุ่มข้อมูลซ้ำกันหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือแต่ละช่องเซลของรีเลชั่นจะถูกจัดเก็บข้อมูลมากกว่า 1 ค่า ส่งผลให้รีเลชั่น นี้ มีโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องตามคุณสมบัติของ 1NF
ยกตัวอย่างเช่น ตาราง Oder สังเกตว่าลูกค้า(Attribute“CUST_NO”คนสามารถมีรายการสั่งซื้อ (Attribute “ORDER_CONTENT”) ได้มากกว่า 1 รายการ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า (Attribute“CUST_NO”) นี้ มีความสัมพันธ์กับ(Attribute“ORDER_CONTENT”) ในแบบ Repeating Group ส่งผลให้รีเลชั่น นี้ มีโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องตามคุณสมบัติของ 1NF
3. จงอธิบายความหมายของ Transitive Dependency พร้อมยกตัวอย่าง
   ตอบ  Transitive Dependency หมายถึง รีเลชั่น ของตารางเกิดมี Attribute บางตัวที่ไม่ได้เป็นคีย์หลัก มีคุณสมบัติในการกำหนดค่าของอื่นที่ไม่ใช่คีย์หลักในตารางรีเลชั่นหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มี 2 Attribute ที่ไม่ใช่คีย์หลัก ที่สามารถระบุค่าระหว่างกันได้
ยกตัวอย่างเช่น ในตาราง Oder สินค้าของลูกค้าจาก รีเลชั่น “Cust” มีค่าของAttribute “CITY” และ Attribute “ZONE_SALE” ปรากฏข้อมูลซ้ำกันเป็นคู่ ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ทั้ง 2 Attribute สมารถระบุค่าระหว่างกันได้ กล่าวคือ เมื่อระบุค่าให้กับ Attribute “ZONE_SALE” จะสามารถทราบถึงเมืองใน Attribute “CITY” ได้ ดังนั้นจึงทำให้ รีเลชั่นนี้ขาดคุณสมบัติของ 3NF และยังก่อให้เกิดปัญหาความผิดพลาดทางด้าน Anomaly

4.จงตรวจสอบตารางต่อไปว่าอยู่ในรูปของ 1NF 2NF และ 3NF แล้วหรือยัง ถ้ายัง Normalization ให้อยู่ในรูปดังกล่าว
P_ID
P_Name
E_ID
E_ Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
11
EAU  Web Site
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
450
19.4
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
35.7
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
22
BU Reglstration
114

สุรศักดิ์ ดีงาม
ApplicationDesigner
300
24.6
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.3
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
450
44.0
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
44.0



= จากตารางจะสังเกตว่าไม่มีคุณสมบัติครบเป็น 1NF เพราะเป็นรีเลชั่นที่มีคีย์หลักของรีเลชั่น คือ มี (Attribute “P_ID”) เป็นคีย์หลัก แล้วแต่มีกลุ่มข้อมูลซ้ำซ้อน (Repeating Group) อยู่ในรีเลชั่นหรือในแต่ละช่องหรือเซล ของรีเลชั่นมีการเก็บข้อมูลหลายค่าคือ Attribute “E_ID”นี้มีความสัมพันธ์กับ Attribute “P_Name” ในแบบRepeating Group ส่งผลให้ Relation นี้ มีโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องตามคุณสมบัติของ 1NF ดังนั้นจึงต้องทำรายการ Normalization โดยการแปลงคุณสมบัติ Attributeที่อยู่ในรูป Repeating Group ให้มีคุณสมบัติ  Atomicity พร้อมกับกำหนดให้Attribute ดังกล่าวเป็น Relation Key ของ Relation ดังนั้นจึงถูกแปลงให้อยู่ในรูปดังนี้
P_ID
P_Name
E_ID
E_ Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
11
EAU  Web Site
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
11
EAU  Web Site
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
450
19.4
11
EAU  Web Site
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
35.7
11
EAU  Web Site
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
11
EAU  Web Site
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
22
BU Reglstration
114

สุรศักดิ์ ดีงาม
ApplicationDesigner
300
24.6
22
BU Reglstration
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.
22
BU Reglstration
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
22
BU Reglstration
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20
22
BU Reglstration
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
450
44.0
22
BU Reglstration

105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
44.0



ไม่มีคุณสมบัติเป็นไปตาม 2NF เพราะจะเห็นได้ว่า Relation ของตาราง จะมีAttribute (E_ID ,P_ID) เป็น Attribute ที่ทำให้ข้อมูลในแต่ละ Tuple มีค่าไม่ซ้ำกัน ดังนั้น  Attribute ทั้ง 2 จึงทำหน้าที่เป็น Relation Key และพิจารณาค่าของ Attribute E_ID”, E_ Name” , “Job_Calss”, Chg_Hour”, Hour ” จะสังเกตเห็นว่า Tuple ที่ประกอบขึ้นจาก Attribute เหล่านี้ จะมีข้อมูลซ้ำกันเป็นชุด ๆ และมีเพียง  Attribute “P_Name” เท่านั้นที่มีค่าแปรเปลี่ยนตามค่าของ Relation Key ดังนั้นจึงสามารถเขียนด้วย Functional Dependency เพิ่มเติมได้ดังนี้
- d1: E_ID, P_ID               P_Name
- d2: E_ID                E_ Name ,Job_Calss ,Chg_Hour, Hour
ใน d2 จะสังเกตเห็นว่า Attribute E_ Name” , “Job_Calss”, Chg_Hour”และ “Hour ”, เป็น Nonprime Attribute ของ Relation ที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเฉพาะ Relation Keyแต่กลับขึ้นอยู่กับค่าของ Attribute E_ID” ด้วย แสดงว่า d2 นี้ไม่เป็นไปตามคุณสมบัติข้อ 2
ดังนั้น Relation นี้ จึงไม่มีคุณสมบัติเป็นไปตามคุณสมบัติของ 2NF จึงต้องแยกRelation นี้ ออกเป็น 2 Relation ตาม d1และ d2 ดังนี้
E P_Name
E_ID
P_ID
P_Name
103
11
EAU  Web Site
101
11
EAU  Web Site
105
11
EAU  Web Site
106
11
EAU  Web Site
102
11
EAU  Web Site
114

22
BU Reglstration
118
22
BU Reglstration
104
22
BU Reglstration
106
22
BU Reglstration
112
22
BU Reglstration
105
22
BU Reglstration





E
E_ID
E_ Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
450
19.4
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
35.7
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
114

สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
300
24.6
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
450
44.0
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
44.0



-  จาก Relation นี้ ถึงแม้จะมีโครงสร้างเป็นไปตามคุณสมบัติ 2NF แต่จะเห็นว่าค่าของ Attribute “Job_Calss” , “Chg_Hour”และ “ Hour ” ยังปรากฏข้อมูลที่มีซ้ำกันอยู่เป็นคู่ ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งทั้ง 2 Attribute สามารถรับบุค่าระหว่างกันได้ ดังนั้นRelation นี้จึงขาดคุณสมบัติของ 3NF และยังก่อให้เกิดปัญหาความผิดพลาดทางด้าน Anomaly
จากปัญหา Anomaly ที่เกิดขึ้นจาก Transitive Dependency เหล่านี้จึงต้องทำการแยก Attribute ที่ทำให้เกิด Transitive Dependency ของ Relation นี้ ออกมาเป็น Relation ใหม่ ซึ่งจากตารางได้แก่ Attribute “Job_Calss” , “Chg_Hour”และ “ Hour ” ดังนี้
E2
E_ID
E_ Name
Job_Calss
103
สมชาย ไม้ดี
SA
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
102
อมร ดีศรี
SA
114

สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
118
กมล ไม้งาม
General Support
104
นาย ยิ่งยอด
SA
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer




Job Chg Hour
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
SA
500
23.8
Database  Designer
450
19.4
Database  Designer
450
35.7
Programmer
400
12.6
SA
500
23.8
Application Designer
300
24.6
General Support
200
45.
SA
500
32.4
Programmer
400
20
Database  Designer
450
44.0
Database  Designer
450
44.0


5.จงวิเคราะห์และจัดทำ Normalization ระบบการลงทะเบียนของนักศึกษา ให้มีความซ้ำซ้อนน้อยที่สุด
รหัส นศ.
ภาคเรียนที่
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
ชื่อประเภท
หน่วยกิต
เกรด
4501
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
F

1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
C

2/45
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
D

2/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
D+
4052
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
B

1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C

2/45
A02
ระบบฐานข้อมูล
03
ชีพเลือก
3
B

2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4503
1/45
A06
การสื่อสารข้อมูล
01
พื้นฐาน
3
A

1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
03
ชีพเลือก
3
C

2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4506
1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
B+

1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C




จัดทำ Normalization 
5.1 First Normal Form (1NF)  ได้ดังนี้
ระบบการลงทะเบียนของนักศึกษา
รหัส นศ.
ภาคเรียนที่
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
ชื่อประเภท
หน่วยกิต
เกรด
4501
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
F
4501
1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
C
4501
2/45
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
D
4501
2/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
D+
4052
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
B
4052
1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C
4052
2/45
A02
ระบบฐานข้อมูล
03
ชีพเลือก
3
B
4052
2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4503
1/45
A06
การสื่อสารข้อมูล
01
พื้นฐาน
3
A
4503
1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
03
ชีพเลือก
3
C
4503
2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4506
1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
B+
4503
1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C





5.2 Second Normal Form (2NF)  ได้ดังนี้
รหัสวิชาระบบการลงทะเบียน
รหัส นศ.
รหัสวิชา
ภาคเรียนที่
4501
A01
1/45
4501
A03
1/45
4501
A01
2/45
4501
A04
2/45
4052
A01
1/45
4052
A04
1/45
4052
A02
2/45
4052
A05
2/45
4503
A06
1/45
4503
A04
1/45
4503
A05
2/45
4506
A03
1/45
4503
A04
1/45






รหัสวิชา
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
ชื่อประเภท
หน่วยกิต
เกรด
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
F
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
C
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
D
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
D+
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
B
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C
A02
ระบบฐานข้อมูล
03
ชีพเลือก
3
B
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
A06
การสื่อสารข้อมูล
01
พื้นฐาน
3
A
A04
ภาษาอังกฤษ1
03
ชีพเลือก
3
C
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
B+
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C





5.3 Second Normal Form (2NF)  ได้ดังนี้
รหัสวิชา 2
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
A03
ภาษาไทย
01
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
A01
คณิตศาสตร์คอม
02
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
A02
ระบบฐานข้อมูล
03
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
A06
การสื่อสารข้อมูล
01
A04
ภาษาอังกฤษ1
03
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
A03
ภาษาไทย
01
A04
ภาษาอังกฤษ1
01



ชื่อประเภทวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
ชื่อประเภท
หน่วยกิต
เกรด
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
F
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
C
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
D
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
D+
คณิตศาสตร์คอม
02
ชีพบังคับ
3
B
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C
ระบบฐานข้อมูล
03
ชีพเลือก
3
B
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
การสื่อสารข้อมูล
01
พื้นฐาน
3
A
ภาษาอังกฤษ1
03
ชีพเลือก
3
C
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
B+
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C